ใช้เสียงสื่อความหมาย ข. มีวิธีการสร้างศัพท์ขึ้นใหม่ ค. มีโครงสร้างไวยากรณ์ที่ต่างกัน ง. มีการเปลี่ยนแปลงตามสิ่งแวดล้อม เฉลย แบบทดสอบก่อนเรียน ( Pre-Test) เรื่อง ธรรมชาติของภาษา ๑. ค ๒. ง ๓. ข ๔. ง ๕. ข ๖. ข ๗. ก ๘. ค ๙. ข ๑ ๐. ง

  1. บทที่ ๘ ธรรมชาติของภาษา | supanee kunpanpeng
  2. ความหมายของคำว่า ' คำกร่อน '

บทที่ ๘ ธรรมชาติของภาษา | supanee kunpanpeng

การใช้เสียงสื่อความหมาย เสียงในภาษาไทยประกอบด้วยเสียง พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ เสียงที่เปล่งออกมาในแต่ละครั้งอาจจะมีความหมายหรือไม่มีความหมายก็ได้ การคใช้เสียงในการสื่อความหมายจึงมี ๒ ลักษณะ คือ ๑. ๑ เสียงที่มีความสำพันธ์กับความหมาย ภาษาแต่ละภาษามีเสียงที่สำพันธ์กับความหมาย ซึ่งเป็นเสียงที่สามารถคาดเดาความหมายได้ มักเป็นเสียงต่างๆ ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เลียนเสียงร้อง หรือ เสียงดังที่เกิดจากสิ่ง ๆ นั้น เช่น แมว ตุ๊กแก รถตุ๊กๆ กา ๑. ๒ เสียงที่ไม่สัมพันธ์กับความหมาย เป็นเสียงที่ไม่สามารถคาดเดาความหมายได้ เช่น บ้าน ในภาษาไทย ตรงกับคำว่า เฮ้าส์ ( house) หรือ โฮม ( home) ในภาษาอังกฤษ เมซอง ( miason) ในภาษาฝรังเศส อุจิ ในภาษาญี่ปุ่น เคห ในภาษาบาลี คำดังกล่าว ในแต่ละภาษาต่างมีความหมายอย่างเดียวกันแต่ออกเสียงต่างกันโดยสิ้นเชิง ไม่มีลักษณะใดแสดงความเกี่ยวข้องกัน จึงกล่าวได้ว่าการที่เสียงหรือคำใดมีความหมายอย่างไรเป็นเรื่องของการตกลงกันของคนในสังคมแต่ละกลุ่มที่จะกำหนดขึ้น ๒.

การสร้างคำ การสร้างคำ คือ การรวมหน่วยคำตั้งแต่ ๒ หน่วยขึ้นไปเข้าเป็นคำคำเดียว หน่วยคำที่นำมารวมกันมีทั้งที่เป็นคำคำเดียวกันและต่างชนิดกัน ดังนี้ ๑. คำที่สร้างขึ้นด้วยหน่วยคำที่มีความหมายแตกต่างกัน เรียกว่าคำประสม ๒. คำที่สร้างขึ้นด้วยหน่วยคำเติม เรียกว่าคำประสาน ๓. คำที่สร้างขึ้นด้วยหน่วยคำที่มีความหมายเหมือนกัน ใกล้เคียงกันหรือตรงกันข้ามกันเรียกว่าคำซ้อน ๔. คำที่สร้างขึ้นด้วยหน่วยคำซ้ำกันเรียกว่า คำซ้ำ ๕. คำที่สร้างขึ้นด้วยหน่วยคำภาษาบาลีและสันสกฤตเรียกว่า คำสมาส คำประสม คำประสม หมายถึงคำที่เกิดจากการนำหน่วยคำอิสระที่มีความหมายต่างกันอย่างน้อย ๒ หน่วยมารวมกัน เกิดเป็นคำใหม่คำหนึ่ง มีความหมายใหม่ คำประสมมีลักษณะดังนี้ ๑. คำประสมเป็นคำที่มีความหมายใหม่ ต่างจากความหมายที่เป็นผลรวมของหน่วยคำที่มารวมกัน แต่มักมีเค้าความหมายของหน่วยคำเดิมอยู่ เช่น น้ำแข็ง เป็นคำประสมมีความหมายว่า "น้ำที่เป็นก้อนเพราะถูกความเย็นจัด" เป็นความหมายใหม่ที่มีเค้าความหมายเดิมของหน่วยคำ น้ำ และ แข็ง หนังสือพิมพ์ เป็นคำประสมมีความหมายว่า "สิ่งพิมพ์ที่เสนอข่าวสารและความเห็นแก่ประชาชน มักออกเป็นรายวัน" เป็นความหมายใหม่ที่มีเค้าความหมายเดิมของหน่วยคำ หนังสือ และพิมพ์ ๒.

๕ คำที่มี ๓ พยางค์ ซึ่งออกเสียง อะ ในพยางค์ที่ ๒ มักประวิสรรชนีย์ เช่น รัดประคด บาดทะยัก เจียระไน สับปะรด คุดทะราด เป็นต้น ๒.

การเลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัวมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มีการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยเข้ามาใช้จำจำเป็นต้องมีคำเรียกสิ่งใหม่ที่เกิดขึ้น เช่น ทางด่วน เครื่องปรับอากาศ รถไฟฟ้า รถไฟใต้ดิน คอนโดมิเนียม ส่วนสิ่งใดที่เลิกใช้ไปแล้ว คำที่เคยใช้ก็เลิกใช้ตามไปด้วย เช่นคำว่า จับเขม่า ในสมัยก่อนหมายถึง ทาผมดำด้วยเขม่าผสมน้ำมันตานีปัจจุบันเปลี่ยนไปใช้น้ำยาย้อมผมแทน คำว่า จับเขม่า จึงเลกใช้ไป ๔. การเลียนภาษาของเด็ก ภาษาของเด็กอาจแตกต่างจากผู้ใหญ่ไปบ้างในด้านเสียงและความหมาย เมื่อเด็กใช้ภาษาผิดและสืบทอดภาษาต่อกันมา ก็ทำให้ภาษาเปลี่ยนแปลงแตกต่างกันออกไป เช่นคำว่า หนูเคย ใช้เป็นสรรพนามแทนตัวของเด็ก ในปัจจุบันมักใช้สรรพนามของผู้น้อยที่พูดกับผู้ใหญ่ หรือ บางครั้งผู้ใหญ่ก็มักใช้ตามเด็ก เช่น สามีภรรยามักเรียกกันว่า พ่อ แม่ ตามลูก ๔. ภาษามีลักษณะเฉพาะที่แตกต่างและเหมือนกัน ภาษาแต่ละภาษาย่อมมีลักษณะบางอย่าที่ต่างกันและเหมือนกันดังนี้ ๑. ลักษณะเฉพาะที่ต่างกัน สิ่งที่ภาษาแต่ละภาษามีความแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัดมี ๓ ประการ คือ (หลักการใช้ภาษาไทยหน้า ๕) ๑.

  • หนัง a bigger splash page
  • การทดสอบโดยวิธีคลื่นเสียงความถี่สูงแบบเรียงเฟส (PAUT) | บริษัท ราชพฤกษ์วิศวกรรม จำกัด
  • About us | UFA800 เว็บแทงบอลออนไลน์ครบวงจร เปิดบริการ 24ชม.
  • การกร่อนเสียง คือ

ความหมายของคำว่า ' คำกร่อน '

ที่ตั้ง ๒. ภูมิอากาศ ๓. ความอุดมสมบูรณ์หรือความแร้นแค้น ๔. กลุ่มชนแวดล้อม ลักษณะของภาษาไทยที่ควรสังเกต ๑. นิยมใช้คำสัมผัสคล้องจองกัน ๒. มีคำที่แสดงฐานะบุคคลตามวัฒนธรรมไทย คือพระมหากษัตริย์ พระภิกษุ พระบรมวงศานุวงศ์ สุภาพชน ซึ่งการใช้ภาษาก็จะแตกต่างลดหลั่นกันตามฐานะของแต่ละบุคคล ๓. ภาษาไทยใช้คำไทยแท้ ซึ่งเป็นพยางค์เดียว ต่อมาได้รับอิทธิพลจากภาษาอื่น จึงเปลี่ยนแปลง การใช้คำ แต่ยังคงใช้คำไทยแท้ในภาษาพูด เช่น บุตร ใช้แทน ลูก บิดามารดา ใช้แทน พ่อ, แม่ เป็นต้น ๔. ภาษาไทย แสดงลักษณะเฉพาะเกี่ยวกับรสอาหาร เช่น รสหวาน รสขม รสจืด ๕. ภาษาไทยมีคำที่มีความหมายเฉพาะสื่อสารเป็นที่เข้าใจ ภาษาถิ่นกับวัฒนธรรม ภาษาถิ่นที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ สมัยจอมพล ป. พิบูลสงครามได้แบ่งวัฒนธรรมเป็น ๔ สาขาดังนี้ ๑. วัฒนธรรมทางคติธรรม เป็นวัฒนธรรมที่เกี่ยวกับการดำเนินชีวิตในเรื่องจิตใจและศาสนา ๒. วัฒนธรรมทางเนติธรรม เป็นวัฒนธรรมทางกฎ ระเบียบประเพณี กฎหมายที่ยอมรับนับ ถือกัน ๓. วัฒนธรรมทางวัตถุธรรม เป็นวัฒนธรรมทางวัตถุที่เกี่ยวกับการดำรงชีวิต การกินดีอยู่ดี ๔. วัฒนธรรมทางสหธรรม เป็นวัฒนธรรมทางสังคมเกี่ยวกับการอยู่ร่วมกัน ความเอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่ต่อกัน รวมทั้งระเบียบมารยาทที่จะติดต่อกันเกี่ยวกับสังคมอีกด้วย

การกร่อนเสียง คือ

กริยา + กริยา ซักแห้ง ทำความสะอาดเสื้อผ้าวิธีหนึ่งด้วยสารเคมี เป็นต่อ มีโอกาสดีกว่าในการต่อสู้หรือการแข่งขัน ๒. กริยา + นาม ยกเมฆ พูดให้น่าเชื่อโดยคิดสร้างหลักฐานประกอบขึ้นมาเอง ขายเสียง ยินยอมลงคะแนนเสียงให้บุคคลใดบุคคลหนึ่ง เพื่อแลกกับสิ่งของ และเงิน; มีอาชีพเป็นนักร้อง ๓. กริยา + นาม + กริยา ตีบทแตก แสดงได้สมบทบาท ๔. กริยา + บุพบท เป็นกลาง ไม่เข้าข้างใดข้างหนึ่ง ๕. กริยา + บุพบท + นาม กินตามน้ำ โกงกินร่วมไปกับผู้อื่น ทั้ง ๆที่อาจจะไม่มีเจตนาโกงกินแต่แรก ๖. นาม – กริยา ตาแข็ง ไม่ง่วง หัวอ่อน ว่าง่าย, ยอมตามง่าย ๗. นาม + กริยา + นาม น้ำท่วมปาก พูดไม่ออกเพราะเกรงจะมีภัยแก่ตนหรือผู้อื่น ความหมายของคำประสม คำประสมมีความหมาย ๓ ลักษณะ คือ ๑. มีความหมายใกล้เคียงกับหน่วยคำเดิมที่มาประกอบกัน ๒. มีความหมายเฉพาะ ซึ่งแตกต่างจากความหมายของหน่วยคำเดิม ๓.

คำกร่อน น. คำที่ลดเสียงสระและเสียงสะกด (ถ้ามี) ให้เป็นเสียง อะ โดยยังคงเสียงพยัญชนะต้นเสียงเดี่ยวหรือเสียงพยัญชนะต้นที่เป็นอักษรควบอักษรกล้ำไว้ มักจะเกิดในคำสองพยางค์ที่พยางค์แรกออกเสียงเบา เช่น หมากม่วง เป็น มะม่วง ต้นเคียน เป็น ตะเคียน อันหนึ่ง เป็น อนึ่ง แจ้นแจ้น เป็น จะแจ้น ขวักไขว่ เป็น ขวะไขว่ โครมโครม เป็น คระโครม, และมีปรากฏในคำพยางค์เดียวด้วย เช่น เสีย เป็น ซะ แล้ว เป็น ละ, แต่บางกรณีก็ลดเสียงสระและเสียงสะกด (ถ้ามี) ให้เป็นเสียง เออะ หรือ อึ เช่น เถิด เป็น เถอะ หรือ เป็น รึ. คะ ๑ คำกร่อน ของคำหน้าซึ่งซ้ำกับคำหลังในคำที่มี ค เป็นพยัญชนะต้นในบทกลอน เช่น ครื้นครื้น กร่อนเป็น คะครื้น โครมโครม กร่อนเป็น คะโครม มีคำแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น และมีความหมายในทางย้ำเน้นคำ. งะ คำกร่อน ของคำหน้าซึ่งซ้ำกับคำหลังในคำที่มี ง เป็นพยัญชนะต้น มีคำแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น เช่น งะงก งะงัน งะโง้ง. จะ ๑ คำกร่อน ของคำหน้าซึ่งซ้ำกับคำหลังในคำที่มี จ เป็นพยัญชนะต้นในบทกลอน เช่น แจ้งแจ้ง กร่อนเป็น จะแจ้ง แจ่มแจ่ม กร่อนเป็น จะแจ่ม มีคำแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น และมีความหมายในทางย้ำหรือเน้น. ฉะ ๒ คำกร่อน ของคำหน้าซึ่งซ้ำกับคำหลังในคำที่มี ฉ เป็นพยัญชนะต้นในบทกลอน เช่น ฉาดฉาด กร่อนเป็น ฉะฉาด ฉ่ำฉ่ำ กร่อนเป็น ฉะฉ่ำ มีคำแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น และมีความหมายในทางย้ำหรือเน้นคำ.